The Single Best Strategy To Use For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
The Single Best Strategy To Use For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
Blog Article
'สุรพงษ์' เล็งหารือ ก.คลัง ปรับโครงสร้างหนี้การรถไฟฯ หวังหลุดขาดทุนสะสม
ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยมีทั้งปัจจัยระดับโครงสร้าง และปัจจัยระดับปัจเจกบุคคล จึงทำให้ทิศทางการศึกษาของไทยยุคใหม่มีแนวโน้มทั้งทิศบวก และทิศทางลบ ดังนี้
แม้เด็กและเยาวชนจะได้มีโอกาสเข้าเรียนในการศึกษาระดับพื้นฐานที่สูงขึ้น แต่สถานศึกษาในแต่ละแห่งก็มีทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งด้านอุปกรณ์การศึกษา บุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในการให้การศึกษาที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ดังที่เห็นได้ว่า โรงเรียนในเมืองมีความพร้อมกว่ามาก ต่างจากโรงเรียนชนบทขนาดเล็กที่ยังขาดแคลนอยู่มาก
ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง
ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียน
ในบทความนี้ กสศ. จะมาเล่าที่มาที่ไป และแชร์เกี่ยวกับสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในปีล่าสุด
บทเพลงจาก “พลังของผีเสื้อ”เรื่องราวดนตรีเปลี่ยนชีวิตและความเชื่อว่า “โลกใบนี้ยังมีพื้นที่เรียนรู้สำหรับเด็กทุกคน”
ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง
การเพิ่มจำนวนครูต่อนักเรียนจะทำให้นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น ช่วยลดปัญหาเด็กนักเรียนที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง และช่วยส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน
เรียนรู้วิชาชีพจากองค์ความรู้ภายในชุมชน
การที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะแก่การศึกษา การสนับสนุนของครอบครัวไม่เอื้ออำนวย หรือการขาดคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้เด็ก และเยาวชนไทยบางส่วนถูกผลักให้ออกไปจากระบบการศึกษา ขาดการเรียนรู้ในวิชาชีพ การเรียนรู้ทางสังคม หรือการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ทำให้เด็ก และเยาวชนบางรายกลายเป็นประชากรที่ไร้คุณภาพ นำไปสู่การเกิดปัญหาสังคม และปัญหาอาชญากรรมตามมา
สร้างมาตรฐานขั้นต่ำ – ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย. เปลี่ยน ‘เหลื่อมล้ำ’ เป็น ‘เสมอภาค’ : มองปัญหาการศึกษาไทยกับ ดร.
คน เราพบว่ามีการโยกย้ายอัตรากำลังไม่พอเพราะไม่ใช่คนพื้นถิ่น การทำโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่นที่ให้ครูมีโอกาสอยู่ใกล้บ้านตัวเอง ไม่ย้ายไปที่อื่นจะทำให้อัตรากำลังครูในโรงเรียนขนาดเล็กยั่งยืนมากขึ้น เป็นวิธีการหนึ่งในการหาครูเข้าพื้นที่